ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศกรุงเทพมหานคร ขอรายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ในกรุงเทพฯ เวลา 07.00 น. วันนี้ (15 ม.ค.67) ค่าเฉลี่ยของกรุงเทพฯ 42.9 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.)
5 อันดับ ของค่าฝุ่นPM2.5 เขตสูงสุดในกรุงเทพมหานคร
1.เขตหนองแขม 56.7 มคก./ลบ.ม.
2.เขตทวีวัฒนา 55.3 มคก./ลบ.ม.
3.เขตคลองสามวา 52.1 มคก./ลบ.ม.
4.เขตบางบอน 50.8 มคก./ลบ.ม.
5.เขตคันนายาว 50.3 มคก./ลบ.ม.
1.กรุงเทพเหนือ 38.6 - 45.9 มคก./ลบ.ม. ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
2.กรุงเทพตะวันออก 37.9 - 52.1 มคก./ลบ.ม. ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
3.กรุงเทพกลาง 36.3 - 49.7 มคก./ลบ.ม. ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
4.กรุงเทพใต้ 34 - 48.2 มคก./ลบ.ม. ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
5.กรุงธนเหนือ 37.9 - 55.3 มคก./ลบ.ม. ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
6.กรุงธนใต้ 38 - 56.7 มคก./ลบ.ม. ภาพรวม : อยู่ในเกณฑ์เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
ฝุ่นละอองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์คุณภาพอากาศเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
ศูนย์ข้อมูลคุณภาพอากาศ กรุงเทพมหานคร รายงานสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM 2.5) ของสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรุงเทพฯ : ตรวจวัดได้ 31.1-58.3 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร (มคก./ลบ.ม.) พบว่าเกินมาตรฐานอยู่ในระดับสีส้ม เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ (มาตรฐานไม่เกิน 37.5 มคก./ลบ.ม.) จำนวน 56 พื้นที่ คือ
1.เขตหนองแขม สามแยกข้างป้อมตำรวจ ถนนมาเจริญ เพชรเกษม 81 : มีค่าเท่ากับ 58.3 มคก./ลบ.ม.
2.สวนทวีวนารมย์ เขตทวีวัฒนา : มีค่าเท่ากับ 57.8 มคก./ลบ.ม.
3.เขตทวีวัฒนา ทางเข้าสนามหลวง 2 : มีค่าเท่ากับ 55.0 มคก./ลบ.ม.
4.เขตประเวศ ด้านหน้าห้างสรรพสินค้าซีคอนสแควร์ : มีค่าเท่ากับ 54.5 มคก./ลบ.ม.
5.เขตบางพลัด ภายในสำนักงานเขตบางพลัด : มีค่าเท่ากับ 53.3 มคก./ลบ.ม.
6.เขตบางกอกน้อย บริเวณหน้าสถานีตำรวจรถไฟบางกอกน้อย : มีค่าเท่ากับ 52.8 มคก./ลบ.ม.
7.เขตบางบอน ใกล้ตลาดบางบอน : มีค่าเท่ากับ 52.3 มคก./ลบ.ม.
8.เขตลาดกระบัง ด้านหน้าโรงพยาบาลลาดกระบังข้างป้อมตำรวจ : มีค่าเท่ากับ 51.4 มคก./ลบ.ม.
9.เขตคลองสามวา ภายในสำนักงานเขตคลองสามวา : มีค่าเท่ากับ 51.1 มคก./ลบ.ม.
10.เขตปทุมวัน หน้าห้างสามย่านมิตรทาวน์ : มีค่าเท่ากับ 49.7 มคก./ลบ.ม.
11.เขตวังทองหลาง ด้านหน้าปั๊มน้ำมัน เอสโซ่ ซ.ลาดพร้าว 95 : มีค่าเท่ากับ 49.4 มคก./ลบ.ม.
12.เขตคันนายาว บริเวณปากทางถนนสวนสยามตัดกับถนนรามอินทรา : มีค่าเท่ากับ 48.7 มคก./ลบ.ม.
13.เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ด้านหน้าสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ : มีค่าเท่ากับ 48.0 มคก./ลบ.ม.
14.เขตภาษีเจริญ หน้ามหาวิทยาลัยสยาม(ประมาณซอยเพชรเกษม 36) ทางเข้ามหาวิทยาลัย : มีค่าเท่ากับ 48.0 มคก./ลบ.ม.
15.เขตบางเขน ภายในสำนักงานเขตบางเขน : มีค่าเท่ากับ 47.6 มคก./ลบ.ม.
16.เขตบางนา บริเวณหน้าห้างสรรพสินค้าบิ๊กซี บางนา : มีค่าเท่ากับ 47.5 มคก./ลบ.ม.
17.เขตตลิ่งชัน ถนนพุทธมณฑลสาย 1 ตัดกับถนนบรมราชชนนี : มีค่าเท่ากับ 47.5 มคก./ลบ.ม.
18.เขตบึงกุ่ม ภายในสำนักงานเขตบึงกุ่ม : มีค่าเท่ากับ 47.1 มคก./ลบ.ม.
19.เขตธนบุรี ริมป้ายรถเมล์บริเวณแยกมไหสวรรย์ : มีค่าเท่ากับ 46.8 มคก./ลบ.ม.
20.เขตจตุจักร บริเวณด้านหน้ามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : มีค่าเท่ากับ 46.7 มคก./ลบ.ม.
21.สวนรมณีย์ทุ่งสีกัน เขตดอนเมือง : มีค่าเท่ากับ 46.5 มคก./ลบ.ม.
22.เขตพระโขนง ภายในสำนักงานเขตพระโขนง : มีค่าเท่ากับ 46.1 มคก./ลบ.ม.
23.เขตหลักสี่ ภายในสำนักงานเขตหลักสี่ : มีค่าเท่ากับ 46.0 มคก./ลบ.ม.
24.เขตคลองสาน บริเวณหน้าห้องสมุดใต้สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน : มีค่าเท่ากับ 45.5 มคก./ลบ.ม.
25.เขตยานนาวา ใกล้ธนาคารกรุงศรีอยุธยา สำนักงานใหญ่ : มีค่าเท่ากับ 45.3 มคก./ลบ.ม.
26.เขตบางซื่อ ภายในสำนักงานเขตบางซื่อ : มีค่าเท่ากับ 45.1 มคก./ลบ.ม.
27.เขตสวนหลวง ด้านหน้าสำนักงานเขตสวนหลวง : มีค่าเท่ากับ 44.2 มคก./ลบ.ม.
28.สวนเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา เขตบางกอกน้อย : มีค่าเท่ากับ 44.0 มคก./ลบ.ม.
29.เขตคลองเตย ภายในสำนักงานเขตคลองเตย : มีค่าเท่ากับ 43.9 มคก./ลบ.ม.
30.สวนเสรีไทย เขตบึงกุ่ม : มีค่าเท่ากับ 43.8 มคก./ลบ.ม.
31.สวน 60 พรรษาสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ เขตลาดกระบัง : มีค่าเท่ากับ 43.5 มคก./ลบ.ม.
32.เขตดินแดง ริมถนนวิภาวดีรังสิต : มีค่าเท่ากับ 42.6 มคก./ลบ.ม.
33.เขตสายไหม ป้ายรถเมล์ด้านหน้าสำนักงานเขตสายไหม : มีค่าเท่ากับ 42.5 มคก./ลบ.ม.
34.เขตสัมพันธวงศ์ บริเวณหน้าหัวมุม ซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ (วงเวียนโอเดียน) : มีค่าเท่ากับ 42.4 มคก./ลบ.ม.
35.เขตหนองจอก บริเวณหน้าสำนักงานเขตหนองจอก : มีค่าเท่ากับ 42.2 มคก./ลบ.ม.
36.เขตมีนบุรี สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ตรงข้ามสำนักงานเขตมีนบุรี : มีค่าเท่ากับ 41.6 มคก./ลบ.ม.
37.เขตพญาไท หน้าแฟลตทหารบกใกล้โรงพยาบาลวิชัยยุทธ ตรงข้ามกระทรวงการคลัง : มีค่าเท่ากับ 41.5 มคก./ลบ.ม.
38.สวนหลวงพระราม 8 เขตบางพลัด : มีค่าเท่ากับ 41.4 มคก./ลบ.ม.
39.เขตบางกอกใหญ่ บริเวณสี่แยกท่าพระ แขวงวัดท่าพระ : มีค่าเท่ากับ 41.1 มคก./ลบ.ม.
40.เขตบางรัก ข้างป้อมตำรวจหน้าลานบางรักเลิฟลี่ พลาซ่า : มีค่าเท่ากับ 40.9 มคก./ลบ.ม.
41.เขตพระนคร ภายในสำนักงานเขตพระนคร : มีค่าเท่ากับ 40.9 มคก./ลบ.ม.
42.เขตบางขุนเทียน ภายในสำนักงานเขตบางขุนเทียน : มีค่าเท่ากับ 40.8 มคก./ลบ.ม.
43.เขตดอนเมือง ด้านข้างสำนักงานเขตดอนเมือง : มีค่าเท่ากับ 40.6 มคก./ลบ.ม.
44.เขตบางแค ภายในสำนักงานเขตบางแค : มีค่าเท่ากับ 40.6 มคก./ลบ.ม.
45.สวนกีฬารามอินทรา เขตบางเขน : มีค่าเท่ากับ 40.3 มคก./ลบ.ม.
46.เขตดุสิต ริมสวนหย่อมตรงข้ามสำนักงานเขตดุสิต : มีค่าเท่ากับ 39.6 มคก./ลบ.ม.
47.เขตทุ่งครุ หน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี : มีค่าเท่ากับ 39.4 มคก./ลบ.ม.
48.เขตราษฎร์บูรณะ ภายในสำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ : มีค่าเท่ากับ 39.0 มคก./ลบ.ม.
49.สวนธนบุรีรมย์ เขตทุ่งครุ : มีค่าเท่ากับ 39.0 มคก./ลบ.ม.
50.สวนบางแคภิรมย์ เขตบางแค : มีค่าเท่ากับ 38.9 มคก./ลบ.ม.
51.เขตจอมทอง ภายในสำนักงานเขตจอมทอง : มีค่าเท่ากับ 38.4 มคก./ลบ.ม.
52.สวนหนองจอก เขตหนองจอก : มีค่าเท่ากับ 38.2 มคก./ลบ.ม.
53.เขตราชเทวี ภายในสำนักงานเขตราชเทวี : มีค่าเท่ากับ 38.0 มคก./ลบ.ม.
54.เขตลาดพร้าว ภายในสำนักงานเขตลาดพร้าว : มีค่าเท่ากับ 38.0 มคก./ลบ.ม.
55.สวนวชิรเบญจทัศ เขตจตุจักร : มีค่าเท่ากับ 38.0 มคก./ลบ.ม.
56.สวนหลวง ร.9 เขตประเวศ : มีค่าเท่ากับ 37.7 มคก./ลบ.ม.
คุณภาพอากาศระดับสีส้ม: เริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
-ประชาชนทั่วไป:ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น หน้ากากป้องกัน PM2.5 ทุกครั้งที่ออกนอกอาคาร จำกัดระยะเวลาในการทำกิจกรรม หรือการออกกำลังกายกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก ควรสังเกตอาการผิดปกติ เช่น ไอ หายใจลำบาก ระคายเคืองตา
-ประชาชนกลุ่มเสี่ยง:ใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น หน้ากากป้องกัน PM2.5 ทุกครั้งที่ออกนอกอาคาร
เลี่ยงการทำกิจกรรมหรือการออกกำลังกายกลางแจ้งที่ใช้แรงมาก ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ หากมีอาการผิดปกติให้รีบไปพบแพทย์
ดัชนีคุณภาพอากาศของสถานีตรวจวัดของกรุงเทพฯ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับคุณภาพอากาศเริ่มมีผลกระทบต่อสุขภาพ
กรมอุตุนิยมวิทยา พยากรณ์สภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานคร มีเมฆบางส่วน และอุณหภูมิจะลดลงเล็กน้อย
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง(คาดการณ์แนวโน้มสภาพอากาศที่ส่งผลกระทบต่อฝุ่นPM 2.5 โดยสภาพทางอุตุนิยมวิทยา)
-ช่วงวันที่ 15-21 ม.ค.67 การระบายอากาศอ่อนถึงดี ถึงวันที่ 17 ม.ค. 67 เกิดภาวะอากาศปิดใกล้ผิวพื้น และมีโอกาสเกิดฝนตก ส่งผลให้การสะสมฝุ่นละอองค่อนข้างทรงตัวถึงดีขึ้นเล็กน้อย
-วันที่ 18-20 ม.ค. 67 การระบายอากาศไม่ดี ส่งผลให้เกิดการสะสมฝุ่นละอองได้ และคาดการณ์วันนี้มีเมฆบางส่วน และอุณหภูมิจะลดลงเล็กน้อย
จากการตรวจสอบข้อมูลจุดความร้อน (hotspot) ผ่านดาวเทียม จากหน่วยงาน NASA ไม่พบจุดความร้อนที่ดาวเทียมตรวจพบค่าความร้อนสูงผิดปกติจากค่าความร้อนบนผิวโลกบริเวณพื้นที่กรุงเทพฯ สำนักสิ่งแวดล้อม ประสานแจ้งทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้เพิ่มความเข้มงวดการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง เพื่อเป็นการบรรเทาความรุนแรงของสถานการณ์ฝุ่นละออง PM2.5 และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับสุขภาพอนามัยของประชาชน ขอเชิญชวนส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกภาคส่วน โดยช่วยกันปรับเปลี่ยน พฤติกรรมและลดกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดฝุ่นละออง เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพ “5 วิธีลดฝุ่น คุณก็ทําได้”
1. หมั่นทําความสะอาดบ้านด้วยวิธีเช็ดฝุ่น
2. งดเผาขยะ งดจุดธูป
3. ปลูกต้นไม้ช่วยดูดซับมลพิษดักจับฝุ่นละออง
4. เดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะ
5. ดับเครื่องยนต์ขณะจอดรถ ตรวจสภาพเครื่องยนต์ไม่ให้มีค่าควันดํา เกินมาตรฐาน
#ฝุ่นPM
CR:ขอบคุณข้อมูล-ภาพ กรุงเทพมหานคร