สถาบันพระปกเกล้า โดยสำนักนวัตกรรมเพื่อประชาธิปไตย ร่วมกับสำนักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง และศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า ทำการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง (อายุ 18 ปีขึ้นไป) ใน 77 จังหวัดทั่วประเทศไทย จำนวน 1,540 ตัวอย่าง ระหว่างวันที่ 9 – 12 พฤษภาคม พ.ศ.2566 พบว่า
1.ประชาชนจะลงคะแนนเลือกผู้สมัคร ส.ส. แบบแบ่งเขตของพรรคใด
เพื่อไทย ร้อยละ 27.95 10,184,288 เสียง
ก้าวไกล ร้อยละ 26.77 9,754,280 เสียง
รวมไทยสร้างชาติ ร้อยละ 11.65 4,244,842 เสียง
ภูมิใจไทย ร้อยละ 10.75 3,915,774 เสียง
พลังประชารัฐ ร้อยละ 8.95 3,260,210 เสียง
ประชาธิปัตย์ ร้อยละ 4.98 1,814,442 เสียง
*คำนวณจากการคาดการณ์จำนวนผู้ออกมาใช้สิทธิเลือกตั้งประมาณร้อยละ 75
2. ประชาชนจะลงคะแนนให้แก่พรรคการเมืองในการเลือกตั้ง ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ
พรรค| ร้อยละ| คะแนนเสียง*| จำนวนที่นั่งที่คาดว่าจะได้
ก้าวไกล| 29.25| 10,659,407| 29
เพื่อไทย| 29.13| 10,615,348| 29
รวมไทยสร้างชาติ| 14.13| 5,148,397| 14
พลังประชารัฐ| 7.80| 2,841,385| 8
ภูมิใจไทย| 7.78| 2,835,260| 8
ประชาธิปัตย์| 4.27| 1,555,888 | 4
อื่นๆ| 7.64| 2,782,975| 8
| 100.00| 36,438,661| 100
*คำนวณจากการคาดการณ์จำนวนผู้ออกมาใช้สิทธิเลือกตั้งประมาณร้อยละ 7
3. ประชาชนอยากให้ใครเป็นนายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง
| ร้อยละ
นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์| 31.0
นางสาวแพทองธาร ชินวัตร| 25.2
พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา| 18.3
นายอนุทิน ชาญวีรกูล| 6.4
นายเศรษฐา ทวีสิน| 6.0
พลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ| 3.8
นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์| 3.5
#โพลเลือกตั้ง66